Living in Thailand

Live in

English - US
Start Page Living เที่ยวไทย ไปทุกที่

หน่วยราชการ กฏหมายไทย - รัฐธรรมนูญ
การปกครองท้องถิ่น พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สวัสดิการสังคม (ไทย) กฏหมายไทย - รัฐธรรมนูญ
สวัสดิการสังคม (สหรัฐฯ) พ.ร.บ. ที่ดิน ส.ป.ก.
อยู่ไหนดี ประเทศไทยมีตั้ง 77 จังหวัด
 
ภาคเหนือ ภาคกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออก
ภาคใต้ (ฝั่งอ่าวไทย) ภาคใค (ฝั่งอันดามัน)
 

อยู่ไหนดี ประเทศไทยมีตั้ง 77 จังหวัด

ภาคเหนือตอนบน เรียก สว.ว่า ป้อ หรือ พ่อ หรือ อุ้ย หรือหมานถึง คุณปู่ คุณย่า คุณตา คุณยาย

ภาคกลางเรียก สว.ว่า ลุง ป้า น้า อา

ภาคใต้ตอนล่างเรียก สว.ว่า พี่

เพื่อน สว. ชอบภาคไหนก็สุดแล้วแต่

   
Retired In Thailand

ข่าวว่าค่าครองชีพที่อเมริกาสูงมาก โดยเฉพาะในรัฐ คาลิฟอร์เนีย หลังโควิด-19 แพงไม่หยุด ในหลายมลรัฐอื่นก็เช่นกัน เพื่อน ๆ สว. หลายคนตั้งใจว่าจะปักหลักอยู่ที่นั่น วันนี้เริ่มหันมองไทย โดยเฉพาะ สว. ที่ไม่มีบ้านของตัวเอง หรือไมได้อยู่กับลูกหลาน ค่าเช่าอพารทเมนท์แพงไม่หยุด แม้เชื้อสายอเมริกันบางคนรายได้ไม่พอค่าเช่า ต้องย้ายเมือง หรือย้ายประเทศ มาอาศัยอยู่ในไทยก็พบเห็นทั่วไป

Welcome ครับ ค่าครองชีพประเทศไทยยัง affordable อยู่มากว่า 20 ปี แล้ว ยังอยู่สบาย อาหารการกินแพงขึ้นเท่าตัว ข้าวแกง ก๋วยเตี๋ยว 20 - 25 ตอนนี้ 50 - 60 ค่าเช่าที่พักแพงขึ้นเล็กน้อย แต่ไม่เวอร์เหมือนที่อเมริกา เงินโซเชียลที่ปรับสูงขึ้นตามค่าครองชีพที่อเมริกาช่วยให้อยู่ได้สบาย

ถ้าคุณ retired แม้ว่าได้รับเงินโซเชียลขั้นต่ำก็อยู่ไทยได้ อยู่อย่างไทยไม่เดือดร้อน อยู่เมืองไหนก็ได้แล้วแต่ lifestyle ของแต่ละบุคคล ในส่วนตัวผมเลือกอยู่เมืองเล็กเมืองรอง เพราะรู้สึกว่าอยู่สบายกว่าเมืองใหญ่ เมืองเล็กเมืองรองมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายไม่เร่งรีบ (slow life - easy going) น่าจะเหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนรีไทร์ คือ หมดเวลา lifes in the fast lane

ขอแนะนำให้อ่าน How to Retire in Thailand เขียนโดย Kathleen Peddicord จาก US News เชียนไว้ละเอียดดีมาก

https://www.msn.com/en-us/travel/news/how-to-retire-in-thailand/ar-AA1vXLnB?cvid=ed16878e8225427c8501d0ddb562d3f9&ocid=hpmsn

 

 
   
 
เรียนรู้ เริื่อง "ที่ดิน" ให้เข้าใจ ก่อนที่จะซื้อ หรือขาย
บทสรุปที่ดิน สปก. (สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม)
ทำความเข้าใจสถานะที่ดินก่อนซื้อที่ดิน เพื่อ สร้างบ้านเป็นที่อยู่อาศัย หรือเพื่ออื่นใด
   
 
 
 
 
เที่ยวไทย ไปทุกที่
ภาคเหนือ
เชียงราย น่าน พะเยา เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่
ลำปาง ลำพูน อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก
กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์      
           
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บึงกาฬ หนองคาย เลย อุดรธานี นครพนม หนองบัวลำภู
สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม
ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ อุบลราชธานี นครราชสีมา ศรีสะเกษ
บุรีรัมย์ สุรินทร์        
           
ภาคกลาง

นครสวรรค์

อุทัยธานี

ชัยนาท

สิงห์บุรี

ลพบุรี

อ่างทอง

สระบุรี

สุพรรณบุรี

พระนครศรีอยุธยา

กาญจนบุรี

ราชบุรี

นนทบุรี

ปทุมธานี

กรุงเทพมหานคร

สมุทรปราการ

สมุทรสาคร

   
           
 
ภาคตะวันออก

ชลบุรี

ระยอง

จันทบุรี

ตราด

ฉะเชิงเทรา

นครนายก

ปราจีนบุรี

สระแก้ว

       
           
ภาคใต้
เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา
ภูเก็ต กระบี่ นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สตูล
สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส    
           

 

 
 
   
 
 
   
เบอร์โทร์เหตุฉุกเฉิน โทรศัพท์ไทย
  • เหตุฉุกเฉิน 191 / 1190
  • โจรกรรมรถ 1192
  • ตำรวจทางหลวง 1193
  • อุบัติเหตุทางน้ำ 1196
  • ข้อมูลจราจร 1197
  • หน่วยแพทย์กู้ชีพ 1154
  • ตำรวจท่องเที่ยว 1155
  • สอบถามเส้นทาง 1543
  • ศูนย์นเรนทร เจ็บป่วยฉุกเฉิน 1669
  • รับแจ้งอบัติเหตุ-โรงพยาบาลตำรวจ 169

โทรศัพท์ไทย

เผื่อว่าเพื่อน สว. พลาดข่าว ... ตอนนี้เหลือเครือข่ายโทรศัพท์หลักแค่ 3 เครือข่าย ตัดทิ้งไปจากการแข่งขัน 1 เครือข่าย คือ NT ซึ่งเป็นการควบรวมของ กสท. (CAT) - ทีโอที (TOT) ซึ่งเป็นบริษัทมหาชน ซึ่งถือว่าเป็นเครือข่ายเล็ก ก็เหลือแค่สองบริษัท

ในส่วนของเอกชนก็มีการควบรวม True - Detac

ส่วน Ais ก็ควบรวมกับ 3 BB

อัตราแลกเปลี่ยน ใช้บัตร ATM
currency exchange rate from central bank
อัตราและเปลี่ยนกลางระหว่าง ธนาคาร จากธนาคารแห่ประเทศไทย
atm - currency exchange
ตู้เอทีเอ็มแบ็งค์นี้ มาตรฐานสากล ไม่ถามจุกจิก เลือกกดปุ๊บจ่ายปั๊บ
atm - currency exchange
ตู้เอทีเอ็มแบ็งค์นี้ก็ไม่ถามจุกจิก เลือกกดปุ๊บจ่ายปั๊บ
     
     
  All Rights Reserved  
     
  sam@livinginthailand.com